วันพฤหัสบดีที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2556

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 4

 

อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิ่น

 
วัน/เดือน/ปี 6/12/56
เรียนครั้งที่ 4  เวลาเรียน 14:10-17:30 วันศุกร์

 

 วันนี้ครูให้นำเสนองานที่แต่ละกลุ่มได้รับมอบหมาย
ทั้งหมด 5 กลุ่ม

หัวข้อดังนี้
 หัวข้อที่1 จำนวนและการดำเนินการ(Namber Operation standard)
หัวข้อที่2 การวัด (Measurement)
หัวข้อที่3  เรขาคณิต (Geometry)
 หัวข้อที่4 พีชคณิต (Algebra)
 หัวข้อที่5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น (Data Analysis and Probability) 






กลุ่มที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ









 กลุ่มที่ 2 การวัด

 








กลุ่มที่ 3  เรขาคณิต






กลุ่มที่ 4 พีชคณิต

 




กลุ่มที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น





ครูเบียร์กำลังอธิบาย ในเรื่อง ความน่าจะเป็น และ เรื่อง พีชคณิต
ให้เข้าใจกันอีกรอบ




นางสาว ณัฏฐากร จิรเจิดนภา


บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 3

 

อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิ่น

 
วัน/เดือน/ปี 22/11/56
เรียนครั้งที่ 3  เวลาเรียน 14:10-17:30 วันศุกร์


จุดมุ่งหมายของการสอนคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
- เพื่อให้เด็กมีความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ เป็นการรู้จักคำศัพท์
- เพื่อพัฒนามโนภาพเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ เป็นการบวกลบ
- เพื่อให้เด็กรู้จักและใช้กระบวนการหาคำตอบ
- เพื่อให้เด็กฝึนฝนคณิตศาสตร์พื้นฐาน
- เพื่อให้เด็กมีความรู้ความเข้าใจ
- เพื่อส่งเสริมให้เด็กค้นคว้าหาคำตอบด้วยตัวเอง

ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
1. การสังเกต (observation)
- การใช้ประสาทสัมผัสอย่างใดอย่างหนึ่งมารวมกัน
2. การจำแนกปีะเภท (classifying)
- การแบ่งประเภทส่งของโดยหาเกณฑ์
- เกณฑ์ในการจำแนกคือความเหมือน
3. การเปรียบเทียบ (comparing)
- เด็กต้องอาศัยความสัมพันธ์ของวัตถุสิ่งของหรือเหตุการณ์
 สองสิ่งขึ้นไป
- เด็กต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะเฉพาะของสิ่งนั้น 
และรู้จักคำศัพท์คณิตศาสตร์ที่ต้องใช้
4. การจัดลำดับ (ordering)
- เป็นการเปรียบเทียบขั้นสูง
- การจัดความสำคัญวัตถุสิ่งของหรือเหตุการณ์
5. การวัด (measurement)
- มีความสัมพันธ์กับความสามารถในการอนุรักษ์
- การวัดสำหรับเด็กปฐมวัย ได้แก่ อุณหภูมิ ระยะทาง 
ความยาว น้ำหนัก ปริมาณ
*การวัดของเด็กปฐมวัย ไม่ใช่หน่วยมาตรฐานในการวัด
6. การนับ (counting)
- เด็กชอบการนับแบบท่องจับโดยไม่เข้าใจความหมาย
- การนับแบบท่องจำ จะมีความหมายต่อเมื่อเชื่อมโยง
กับจุดประสงค์บางอย่าง
7. รูปทรงและขนาด (sharp and size)
- เด็กส่วนใหญ่มีความรู้เกี่ยวกับรูปทรง 
และขนาดก่อนที่จะเข้าเรียนเสียอีก





การสังเกต (observation)

 



 การจำแนกประเภท (classifying)

 



 การเปรียบเทียบ (comparing)

 



 การจัดลำดับ (ordering)





 การวัด (measurement)




 การนับ (counting)





 คำศัพท์ เกี่ยวกับคณิตศาสตร์





 และสุดท้ายของวัน ครูได้แจกกระดาษเอสี่ และกระดาษสีแบ่งเท่าๆกัน
 พร้อมทั้งกาว สี สีเมจิก และให้พวกเราวาดวงกลมขนาดพอเหมาะ
กลางเอสี่บน และเลือกตัวเลขที่ชอบ เขียนลงในวงกลม หนูเลือกเลข3 สุดท้าย
 ครูบอกให้พวกเราทำกลีบดอกไม้ แปะลงไปในกระดาษคะ


 นี่คือผลงานของหนูคะ :)



 นางสาว ณัฏฐากร จิรเจิดนภา